สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ผ่านร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่แล้ว เมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2561 โดยรอประกาศในราชกิจจานุเบกษา ภายใน 30 วันซึ่งลูกจ้าง จะได้สิทธิดังนี้
1. ลากิจธุระจำเป็นได้ค่าจ้าง 3 วันทำงานต่อปี
2. ลูกจ้างหญิงตั้งครรภ์ลาก่อนคลอด หลังคลอดได้ 98 วัน (เดิมได้ 90 วัน)
3. กรณีนายจ้างมีการเปลี่ยนตัว เปลี่ยนนิติบุคคล หากลูกจ้างไม่ยินยอม สามารถรับค่าชดเชยพิเศษโดยถ้าทำงานครบ 20 ปี จะได้รับค่าชดเชย 400 วัน
4. ได้รับค่าชดเชยใหม่กรณีเลิกจ้าง จะเพิ่มขึ้นอีก 1 อัตราจาก 5 อัตรา คือ
-อัตราที่ 1 ลูกจ้างที่ทำงานครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี ได้ค่าชดเชย 30 วัน
-อัตราที่ 2 ลูกจ้างที่ทำงานครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี ได้ค่าชดเชย 90 วัน
-อัตราที่ 3 ลูกจ้างทำงานครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี จะได้รับค่าชดเชย 180 วัน
-อัตราที่ 4 ลูกจ้างทำงานครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี ได้รับค่าชดเชย 240 วัน
-อัตราที่ 5 ลูกจ้างทำงานครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี ได้รับค่าชดเชย 300 วัน
-อัตราที่ 6 ลูกจ้างทำงานครบ 20 ปีขึ้นไป จะได้รับค่าชดเชย 400 วัน
5. กรณีย้ายสถานประกอบการไปที่อื่น หากลูกจ้างไม่ตามไป ก็สามารถบอกเลิกสัญญาจ้างได้ และได้สิทธิชดเชยตาม 6 อัตราข้างต้น
6. กรณีค่าตอบแทน หากนายจ้างไม่จ่ายค่าตอบแทน ในบางอาชีพ ที่ทำงานเกินวลาปกติ ลูกจ้างจะต้องฟ้องขอ โดยของเดิมดอกเบี้ยให้ร้อยละ 7.5 ต่อปี แต่กฎหมายใหม่ให้ได้สูงสุดถึง 15 เปอร์เซ็นต์ต่อปี
7. ให้สิทธิเท่าเทียมระหว่างหญิงชาย ลูกจ้างมีสิทธิเท่าเทียมกันในเรื่องค่าจ้าง ค่าตอบแทน คืออัตราจ้างในระดับเดียวกันหญิงชายต้องได้รับค่าจ้างเท่ากัน
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ผ่านร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่แล้ว เมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2561 โดยรอประกาศในราชกิจจานุเบกษา ภายใน 30 วันซึ่งลูกจ้าง จะได้สิทธิดังนี้
1. ลากิจธุระจำเป็นได้ค่าจ้าง 3 วันทำงานต่อปี
2. ลูกจ้างหญิงตั้งครรภ์ลาก่อนคลอด หลังคลอดได้ 98 วัน (เดิมได้ 90 วัน)
3. กรณีนายจ้างมีการเปลี่ยนตัว เปลี่ยนนิติบุคคล หากลูกจ้างไม่ยินยอม สามารถรับค่าชดเชยพิเศษโดยถ้าทำงานครบ 20 ปี จะได้รับค่าชดเชย 400 วัน
4. ได้รับค่าชดเชยใหม่กรณีเลิกจ้าง จะเพิ่มขึ้นอีก 1 อัตราจาก 5 อัตรา คือ
-อัตราที่ 1 ลูกจ้างที่ทำงานครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี ได้ค่าชดเชย 30 วัน
-อัตราที่ 2 ลูกจ้างที่ทำงานครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี ได้ค่าชดเชย 90 วัน
-อัตราที่ 3 ลูกจ้างทำงานครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี จะได้รับค่าชดเชย 180 วัน
-อัตราที่ 4 ลูกจ้างทำงานครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี ได้รับค่าชดเชย 240 วัน
-อัตราที่ 5 ลูกจ้างทำงานครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี ได้รับค่าชดเชย 300 วัน
-อัตราที่ 6 ลูกจ้างทำงานครบ 20 ปีขึ้นไป จะได้รับค่าชดเชย 400 วัน
5. กรณีย้ายสถานประกอบการไปที่อื่น หากลูกจ้างไม่ตามไป ก็สามารถบอกเลิกสัญญาจ้างได้ และได้สิทธิชดเชยตาม 6 อัตราข้างต้น
6. กรณีค่าตอบแทน หากนายจ้างไม่จ่ายค่าตอบแทน ในบางอาชีพ ที่ทำงานเกินวลาปกติ ลูกจ้างจะต้องฟ้องขอ โดยของเดิมดอกเบี้ยให้ร้อยละ 7.5 ต่อปี แต่กฎหมายใหม่ให้ได้สูงสุดถึง 15 เปอร์เซ็นต์ต่อปี
7. ให้สิทธิเท่าเทียมระหว่างหญิงชาย ลูกจ้างมีสิทธิเท่าเทียมกันในเรื่องค่าจ้าง ค่าตอบแทน คืออัตราจ้างในระดับเดียวกันหญิงชายต้องได้รับค่าจ้างเท่ากัน
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ผ่านร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่แล้ว เมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2561 โดยรอประกาศในราชกิจจานุเบกษา ภายใน 30 วันซึ่งลูกจ้าง จะได้สิทธิดังนี้
1. ลากิจธุระจำเป็นได้ค่าจ้าง 3 วันทำงานต่อปี
2. ลูกจ้างหญิงตั้งครรภ์ลาก่อนคลอด หลังคลอดได้ 98 วัน (เดิมได้ 90 วัน)
3. กรณีนายจ้างมีการเปลี่ยนตัว เปลี่ยนนิติบุคคล หากลูกจ้างไม่ยินยอม สามารถรับค่าชดเชยพิเศษโดยถ้าทำงานครบ 20 ปี จะได้รับค่าชดเชย 400 วัน
4. ได้รับค่าชดเชยใหม่กรณีเลิกจ้าง จะเพิ่มขึ้นอีก 1 อัตราจาก 5 อัตรา คือ
-อัตราที่ 1 ลูกจ้างที่ทำงานครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี ได้ค่าชดเชย 30 วัน
-อัตราที่ 2 ลูกจ้างที่ทำงานครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี ได้ค่าชดเชย 90 วัน
-อัตราที่ 3 ลูกจ้างทำงานครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี จะได้รับค่าชดเชย 180 วัน
-อัตราที่ 4 ลูกจ้างทำงานครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี ได้รับค่าชดเชย 240 วัน
-อัตราที่ 5 ลูกจ้างทำงานครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี ได้รับค่าชดเชย 300 วัน
-อัตราที่ 6 ลูกจ้างทำงานครบ 20 ปีขึ้นไป จะได้รับค่าชดเชย 400 วัน
5. กรณีย้ายสถานประกอบการไปที่อื่น หากลูกจ้างไม่ตามไป ก็สามารถบอกเลิกสัญญาจ้างได้ และได้สิทธิชดเชยตาม 6 อัตราข้างต้น
6. กรณีค่าตอบแทน หากนายจ้างไม่จ่ายค่าตอบแทน ในบางอาชีพ ที่ทำงานเกินวลาปกติ ลูกจ้างจะต้องฟ้องขอ โดยของเดิมดอกเบี้ยให้ร้อยละ 7.5 ต่อปี แต่กฎหมายใหม่ให้ได้สูงสุดถึง 15 เปอร์เซ็นต์ต่อปี
7. ให้สิทธิเท่าเทียมระหว่างหญิงชาย ลูกจ้างมีสิทธิเท่าเทียมกันในเรื่องค่าจ้าง ค่าตอบแทน คืออัตราจ้างในระดับเดียวกันหญิงชายต้องได้รับค่าจ้างเท่ากัน