สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ผ่านร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่แล้ว เมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2561 โดยรอประกาศในราชกิจจานุเบกษา ภายใน 30 วันซึ่งลูกจ้าง จะได้สิทธิดังนี้
1. ลากิจธุระจำเป็นได้ค่าจ้าง 3 วันทำงานต่อปี
2. ลูกจ้างหญิงตั้งครรภ์ลาก่อนคลอด หลังคลอดได้ 98 วัน (เดิมได้ 90 วัน)
3. กรณีนายจ้างมีการเปลี่ยนตัว เปลี่ยนนิติบุคคล หากลูกจ้างไม่ยินยอม สามารถรับค่าชดเชยพิเศษโดยถ้าทำงานครบ 20 ปี จะได้รับค่าชดเชย 400 วัน
4. ได้รับค่าชดเชยใหม่กรณีเลิกจ้าง จะเพิ่มขึ้นอีก 1 อัตราจาก 5 อัตรา คือ
-อัตราที่ 1 ลูกจ้างที่ทำงานครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี ได้ค่าชดเชย 30 วัน
-อัตราที่ 2 ลูกจ้างที่ทำงานครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี ได้ค่าชดเชย 90 วัน
-อัตราที่ 3 ลูกจ้างทำงานครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี จะได้รับค่าชดเชย 180 วัน
-อัตราที่ 4 ลูกจ้างทำงานครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี ได้รับค่าชดเชย 240 วัน
-อัตราที่ 5 ลูกจ้างทำงานครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี ได้รับค่าชดเชย 300 วัน
-อัตราที่ 6 ลูกจ้างทำงานครบ 20 ปีขึ้นไป จะได้รับค่าชดเชย 400 วัน
5. กรณีย้ายสถานประกอบการไปที่อื่น หากลูกจ้างไม่ตามไป ก็สามารถบอกเลิกสัญญาจ้างได้ และได้สิทธิชดเชยตาม 6 อัตราข้างต้น
6. กรณีค่าตอบแทน หากนายจ้างไม่จ่ายค่าตอบแทน ในบางอาชีพ ที่ทำงานเกินวลาปกติ ลูกจ้างจะต้องฟ้องขอ โดยของเดิมดอกเบี้ยให้ร้อยละ 7.5 ต่อปี แต่กฎหมายใหม่ให้ได้สูงสุดถึง 15 เปอร์เซ็นต์ต่อปี
7. ให้สิทธิเท่าเทียมระหว่างหญิงชาย ลูกจ้างมีสิทธิเท่าเทียมกันในเรื่องค่าจ้าง ค่าตอบแทน คืออัตราจ้างในระดับเดียวกันหญิงชายต้องได้รับค่าจ้างเท่ากัน
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ผ่านร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่แล้ว เมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2561 โดยรอประกาศในราชกิจจานุเบกษา ภายใน 30 วันซึ่งลูกจ้าง จะได้สิทธิดังนี้
1. ลากิจธุระจำเป็นได้ค่าจ้าง 3 วันทำงานต่อปี
2. ลูกจ้างหญิงตั้งครรภ์ลาก่อนคลอด หลังคลอดได้ 98 วัน (เดิมได้ 90 วัน)
3. กรณีนายจ้างมีการเปลี่ยนตัว เปลี่ยนนิติบุคคล หากลูกจ้างไม่ยินยอม สามารถรับค่าชดเชยพิเศษโดยถ้าทำงานครบ 20 ปี จะได้รับค่าชดเชย 400 วัน
4. ได้รับค่าชดเชยใหม่กรณีเลิกจ้าง จะเพิ่มขึ้นอีก 1 อัตราจาก 5 อัตรา คือ
-อัตราที่ 1 ลูกจ้างที่ทำงานครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี ได้ค่าชดเชย 30 วัน
-อัตราที่ 2 ลูกจ้างที่ทำงานครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี ได้ค่าชดเชย 90 วัน
-อัตราที่ 3 ลูกจ้างทำงานครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี จะได้รับค่าชดเชย 180 วัน
-อัตราที่ 4 ลูกจ้างทำงานครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี ได้รับค่าชดเชย 240 วัน
-อัตราที่ 5 ลูกจ้างทำงานครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี ได้รับค่าชดเชย 300 วัน
-อัตราที่ 6 ลูกจ้างทำงานครบ 20 ปีขึ้นไป จะได้รับค่าชดเชย 400 วัน
5. กรณีย้ายสถานประกอบการไปที่อื่น หากลูกจ้างไม่ตามไป ก็สามารถบอกเลิกสัญญาจ้างได้ และได้สิทธิชดเชยตาม 6 อัตราข้างต้น
6. กรณีค่าตอบแทน หากนายจ้างไม่จ่ายค่าตอบแทน ในบางอาชีพ ที่ทำงานเกินวลาปกติ ลูกจ้างจะต้องฟ้องขอ โดยของเดิมดอกเบี้ยให้ร้อยละ 7.5 ต่อปี แต่กฎหมายใหม่ให้ได้สูงสุดถึง 15 เปอร์เซ็นต์ต่อปี
7. ให้สิทธิเท่าเทียมระหว่างหญิงชาย ลูกจ้างมีสิทธิเท่าเทียมกันในเรื่องค่าจ้าง ค่าตอบแทน คืออัตราจ้างในระดับเดียวกันหญิงชายต้องได้รับค่าจ้างเท่ากัน
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ผ่านร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่แล้ว เมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2561 โดยรอประกาศในราชกิจจานุเบกษา ภายใน 30 วันซึ่งลูกจ้าง จะได้สิทธิดังนี้
1. ลากิจธุระจำเป็นได้ค่าจ้าง 3 วันทำงานต่อปี
2. ลูกจ้างหญิงตั้งครรภ์ลาก่อนคลอด หลังคลอดได้ 98 วัน (เดิมได้ 90 วัน)
3. กรณีนายจ้างมีการเปลี่ยนตัว เปลี่ยนนิติบุคคล หากลูกจ้างไม่ยินยอม สามารถรับค่าชดเชยพิเศษโดยถ้าทำงานครบ 20 ปี จะได้รับค่าชดเชย 400 วัน
4. ได้รับค่าชดเชยใหม่กรณีเลิกจ้าง จะเพิ่มขึ้นอีก 1 อัตราจาก 5 อัตรา คือ
-อัตราที่ 1 ลูกจ้างที่ทำงานครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี ได้ค่าชดเชย 30 วัน
-อัตราที่ 2 ลูกจ้างที่ทำงานครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี ได้ค่าชดเชย 90 วัน
-อัตราที่ 3 ลูกจ้างทำงานครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี จะได้รับค่าชดเชย 180 วัน
-อัตราที่ 4 ลูกจ้างทำงานครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี ได้รับค่าชดเชย 240 วัน
-อัตราที่ 5 ลูกจ้างทำงานครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี ได้รับค่าชดเชย 300 วัน
-อัตราที่ 6 ลูกจ้างทำงานครบ 20 ปีขึ้นไป จะได้รับค่าชดเชย 400 วัน
5. กรณีย้ายสถานประกอบการไปที่อื่น หากลูกจ้างไม่ตามไป ก็สามารถบอกเลิกสัญญาจ้างได้ และได้สิทธิชดเชยตาม 6 อัตราข้างต้น
6. กรณีค่าตอบแทน หากนายจ้างไม่จ่ายค่าตอบแทน ในบางอาชีพ ที่ทำงานเกินวลาปกติ ลูกจ้างจะต้องฟ้องขอ โดยของเดิมดอกเบี้ยให้ร้อยละ 7.5 ต่อปี แต่กฎหมายใหม่ให้ได้สูงสุดถึง 15 เปอร์เซ็นต์ต่อปี
7. ให้สิทธิเท่าเทียมระหว่างหญิงชาย ลูกจ้างมีสิทธิเท่าเทียมกันในเรื่องค่าจ้าง ค่าตอบแทน คืออัตราจ้างในระดับเดียวกันหญิงชายต้องได้รับค่าจ้างเท่ากัน
094 551 4659
ใครบ้างต้องจด VAT
ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ต่อไปนี้ขอเรียกว่า VAT สั้นๆน่ะครับ
1. ผู้ประกอบกิจการที่มีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการเป็นปกติ เกิน 1,800,000 บาทต่อปี
2. ผู้ประกอบการอยู่ต่างประเทศ และได้ขายสินค้าหรือให้บริการในประเทศไทย เป็นปกติโดยมีตัวแทนอยู่ในประเทศไทย ให้ตัวแทนเป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการจดทะเบียน
การประกอบกิจการ ต่อไปนี้ไม่ต้องจด VAT
1. ขายสินค้าหรือให้บริการที่มีรายรับไม่เกิน 1,800,000 ล้านบาท ต่อปี
2. ขายพืชผลทางการเกษตรในประเทศไทย เช่น ข้าว ข้าวโพด ปอ มันสำปะหลัง ผักและผลไม้
3. ขายสัตว์ทั้งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตในประเทศไทย เช่น โค กระบือ ไก่หรือเนื้อสัตว์ กุ้ง ปลา เป็นต้น
4. ขายปุ๋ย
5. ขายปลาป่น อาหารสัตว์
6. ขายยาหรือเคมีภัณฑ์ที่ใช้สำหรับพืชหรือสัตว์ เพื่อบำรุงรักษาป้องกัน ทำลายหรือกำจัดศัตรูหรือโรคของพืชและสัตว์
7. ขายหนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือตำราเรียน
อ่านมาเจ็ดข้อล่ะ พักแป๊บ ถามว่าเจ็ดข้อนี้ถ้าอยากจด VAT ล่ะ จดได้มั้ย สรรพากรยินดี จดได้เลยไม่ห้าม
มาต่อที่ไม่ต้องจด VAT นะครับ
8. การนำเข้าสินค้าตาม 2. ถึง 7. นำเข้าก็คือซื้อมาจากต่างประเทศโดยผ่านกรมศุลกากร
9. การให้บริการการศึกษา ซึ่งก็คือโรงเรียนรัฐและเอกชน
10. การให้บริการขนส่งในประเทศไม่ว่าจะเป็นทางบก ทางน้ำหรือทางอากาศ อ่ะข้อนี้มีข้อยกเว้น
หากเป็นการให้บริการขนส่งโดยอากาศยาน และการให้บริการขนส่งน้ำมันเชื้อเพลิงทางท่อ ขอจด VAT ได้ครับ
11. การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศทางบกและทางเรือซึ่งมิใช่เรือเดินทะเล
12. การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลทางราชการและเอกชน
13. การให้บริการห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์
14. การให้บริการจัดแข่งขันกีฬาสมัครเล่น
15. การให้บริการประกอบโรคศิลปะ การสอบบัญชี การว่าความ
16. การให้บริการของนักแสดงสาธารณะ
17. การให้บริการที่เป็นงานทางศิลปะและวัฒนธรรม
18. การให้บริการวิจัย หรือการให้บริการทางวิชาการ คือ ต้องเป็นการวิจัยหรือบริการทางวิชาการสาขาวิทยาศาสตร์และสาขาสังคมศาสตร์ แต่ต้องมิใช่เป็นการกระทำในทางธุรกิจ ทั้งนี้ ผู้ประกอบการต้องเป็นบุคคลธรรมดาหรือเป็นคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล หรือมูลนิธิ
19. การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน
20. การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์
21. การให้บริการของราชการส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ไม่รวมถึงบริการที่เป็นการพาณิชย์
22. การขายสินค้าหรือการให้บริการของกระทรวง ทบวง กรม
23. การขายสินค้าหรือการให้บริการเพื่อประโยชน์แก่การศาสนา หรือการสาธารณกุศลภายในประเทศ
24. การขายสินค้า หรือการให้บริการตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกาฯ
( พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 239) พ.ศ.2534 )
ขอจบเรื่่องการจดไม่จดไว้เพียงเท่านี้ ยังมีเรื่องราวอีกมากมายเรื่อง vat ไว้จะมาเล่าให้ฟังโอกาศหน้าครับ